(GO-1.1) การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-1.1.1) มีบริบทองค์กรและขอบเขตของ การบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงานและพื้นที่บริการ
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของ สำนักงานและห้องสมุด |
สำนักวิทยบริการฯ มีการประชุมทบทวนขอบเขตพื้นที่ ขอบเขตกิจกรรม และผู้รับผิดชอบ ตามบันทึกข้อความ ที่ พิเศษ/2566 ลงวันที่ 28 มกราคม 2566 เรื่อง ขออนุมัติกำหนดขอบเขตพื้นที่และขอบขตกิจกรรม สำนักวิทยบริการฯ (1.1.1-1.1) ในการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ ครั้งที่ ..../2568 (1.1.1-1.2)
โดยมีการจัดทำแผนผังพื้นที่ ประกอบด้วย อาคารศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาท้องถิ่น (อาคารหอสมุดเดิม) และอาคารบรรณราชนครินทร์ ตลอดจนพื้นที่สีเขียว และทางเดินหรือพื้นซีเมนต์โดยรอบอาคาร บนเนื้อที่ 10,824.5 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยของอาคารและพื้นที่โดยรอบ ทั้งสิ้น 16,975.47 ตารางเมตร ดังปรากฎในแผนปฏิบัติการพัฒนาสำนักวิทยบริการฯสู่องค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประจำปี พ.ศ. 2567 หน้า ..... (1.1.1-1.3) ดังนี้
1. อาคารทั้ง 2 หลังอยู่บนเนื้อที่ 3,217.5 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยของอาคารทั้งหมดจำนวน 9,367.97 ตารางเมตร โดยจำแนกเป็นพื้นที่อาคาร ดังนี้ 1.1 อาคารศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาท้องถิ่น (อาคารหอสมุดเดิม) อยู่บนเนื้อที่ 2,172 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยของอาคาร 3056.27 ตารางเมตร 1.2 พื้นที่อาคารบรรณราชนครินทร์ อยู่บนเนื้อที่จำนวน 1,045.5 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยของอาคาร 6,311.70 ตารางเมตร 2. มีพื้นที่โดยรอบ 7,607.5 ตารางเมตร โดยจำแนกเป็น และมีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักวิทยบริการฯ ทั้งหมด ประกอบด้วย |
|
(GO-1.1.2) มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ด้านห้องสมุด
(1) มีนโยบายการ บริหารจัดการ ห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง
(2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้เพียงพอ และพร้อมใช้
(3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่อง ที่เกี่ยวข้อง
(4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(5) การปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
(6) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบ ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และ มลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(7) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์ การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(8) การสร้างความรู้และความตระหนัก ด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง
ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การ ประเมินสำนักงานสีเขียว)
|
สำนักวิทยบริการฯ มีการปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุมคณะกรรมการบริหารเพื่อทบทวนนโยบายสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ซี่งได้นำนโยบายของปี พ.ศ. 2567 มาปรับปรุงเพื่อให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้มติที่ประชุุมคณะกรรมการฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมใช้นโยบายประจำปี พ.ศ.2568 (1.1.2-1.1) พร้อมกับให้นำประชาสัมพันธ์ตามช่องทางต่างๆ ของสำนักฯ เช่น เว็บไซต์ เพจ เฟซบุ๊คต่อไป
สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการจัดทำประกาศสำนักวิทยบริการฯ เรื่อง นโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้บริการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยครอบคลุมเกี่ยวกับการลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมถึงการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ยังมีการจัดทำประกาศมาตรการและแนวปฏิบัติด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บุคลากรและผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการดำเนินการการจัดการพลังงานของสำนักฯ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม และประกาศใช้เมื่อวันที่ ........ พ.ศ.2568 (1.1.2-1.2)
สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับบุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมีแผนการอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2568 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (1.1.2-1.3), (1.1.2-1.4) นอกจากนี้ยังมีแผนการสื่อสาร เผยแพร่ สร้างการรับรู้ และสร้างความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน การแยกขยะก่อนทิ้ง การประหยัดน้ำ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ บอร์ดประชาสัมพันธ์อิเล็กทรอนิกส์ เพจ Facebook ของสำนักฯ เป็นต้น (1.1.2-1.5), (1.1.2-1.6)
|
|
(GO-1.1.3) การกำหนดนโยบาย โดยผู้บริหารระดับสูง (1) นโยบายสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้ นโยบายสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวอย่างชัดเจน
(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้อง สามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายของการเป็นสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว
(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วน ในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว
(5) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
|
สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และประกาศใช้เมื่อวันที่ ......... 2568 ซึ่งได้รับการอนุมัติจากอาจารย์ปิยวรรณ คุสินธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (1.1.3-1.1)
นอกจากนี้ผู้บริหาร ซี่งประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ หัวหน้าสำนักงาน หัวหน้างาน ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบการดำเนินงานในหมวดต่างๆ ได้ร่วมกันติดตามผลการการปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย โดยผ่านช่องทางการประชุมคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว ซึ่งต้องมีการประชุมเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงาน เรียนรู้ร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาและการพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียว (1.1.3-1.2) |
|
(GO-1.1.4) มีการกำหนดแผนการดำเนินงาน (1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการ ดำเนินงานครบทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของ การดำเนินงานแต่ละหมวด
(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็น ลายลักษณ์อักษร และได้รับการ อนุมัติจากผู้บริหาร
|
|
|
(GO-1.1.5) มีการกำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดที่ชัดเจน และมีหลักฐานการลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน (1) การจัดการและการให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
(2) การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่อง ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และก๊าซ เรือนกระจก
(3) การจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
(4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
|
|
(GO-2.1) การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-2.1.1) กำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม (1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรม ลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
- ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
- การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว และการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
- การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร
|
สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำแผนการเพิ่มทักษะความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2568 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรของสำนักวิทยบริการฯ ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (2.1.1-1) โดยมีผู้รับผิดชอบคือนางสาวแขนภา ทองตัน ตามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานสู่องค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปี 2567 เลขที่ 001/2567 (2.1.1-2) ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2567 ทั้งนี้ได้ดำเนินการจัดทำแผนทั้งหมด 11 หลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรอบรมด้านสำนักงานสีเขียว จำนวน 5 หลักสูตร 1.1 ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว 1.2 การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 การจัดการมลพิษและของเสีย 1.4 การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.5 ก๊าซเรือนกระจก 2. หลักสูตรอบรมด้านห้องสมุดสีเขียว จำนวน 4 หลักสูตร 2.1 ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว 2.2 การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียว และการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.3 การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.4 การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3. หลักสูตรอบรมด้านความปลอดภัยและการเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน จำนวน 2 หลักสูตร 3.1 การซ้อมอพยพหนีไฟและดับเพลิง 3.2 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น |
2568(GO-2.1.1 GL-2.1.1)แผนการเพิ่มทักษะความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2568.pdf |
(GO-2.1.2) กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม (1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ประวัติ หรือประสบการ ณ์ที่ เกี่ยวข้อง
|
|
(GO-2.2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-2.2.1) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน (1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร อย่างน้อย ดังนี้
- นโยบายสิ่งแวดล้อม (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- การปฏิบัติตามกฎหมาย (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- เป้าหมายและมาตรการพลังงานทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมัน เชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และ อื่นๆ) (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- ผลการใช้ทรัพยากรพลังงานและของเสีย (ทุกเดือน)
- การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ทุกเดือน)
- สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- องค์ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- กิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแว้ดล้อม (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
- กิจกรรมกับเครือข่ายความร่วมมือ (ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลง)
(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อ การสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัด จำนวนช่องทาง)
(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
|
สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำแผนการสื่อด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมประจำปี 2568 โดยมีผู้รับผิดชอบคือ นายวิโรจน์ ว่องไวไพโรจน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา จำนวน 9 หัวข้อ และได้กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร ดังนี้ (2.2.1-1)
๑. นโยบายสิ่งแวดล้อม ๒. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ ๓. การปฏิบัติตามกฎหมาย ๔. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) ๕. เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่น้ำ ไฟฟ้า น้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ) ๖. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย ๗. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย ๘. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๙. ก๊าซเรือนกระจก สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดช่องทางการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงานที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร ได้แก่ (2.2.1-2)
1. ประชุมชี้แจง
2. เว็บไซต์GreenOffice 3. กลุ่มFacebook ARIT Staff 4. messenger greenlib 5. morningtalk 6. จออิเล็กทรอนิกส์ 7. บอร์ดประชาสัมพันธ์ 8. Facebookสำนักฯ 9. เว็บไซต์GreenOffice 10. Line@ บุคลากรมหาวิทยาลัย สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน ให้เกิดการรับรู้และรับทราบข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (2.2.1-3)
1. กลุ่มเป้าหมาย ภายใน คือ ผู้บริหารและบุคลากรสำนักฯ
2. กลุ่มเป้าหมาย ภายนอก คือ ผู้ใช้บริการห้องสมุด (นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร มรภ.พบ. ศิษย์เก่าและบุคคลภายนอก)
สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร/รณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม คือ นายวิโรจน์ ว่องไวไพโรจน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นางสาวแขนภา ทองตัน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นายวิวัฒน์ เพิ่มสุข นักเอกสารสนเทศ ตามคำสั่งสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่๐๐๑/๒๕๖๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2567 (2.2.1-4)
|
2568(GO-2.2.1 GL-2.2.1)1. แผนการสื่อด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2568.pdf 2568(GO-2.2.1 GL-2.2.1)2. ช่องทางการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน ประจำปี 2568.pdf 2568(GO-2.2.1 GL-2.2.1)3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการสื่อสาร ประจำปี 2568.pdf 2568(GO-2.2.1 GL-2.2.1)4. กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสารรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2568.pdf |
(GO-2.2.2) มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ ตามที่กำหนดในข้อ (2.2.1)
|
สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดทำสื่อด้านสิ่งแวดล้อมและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน โดยมีผู้รับผิดชอบคือ นายวิโรจน์ ว่องไวไพโรจน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา เพื่อการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่เดือนมกราคม - เดือนกุมภาพันธ์ 2568 จำนวน 25 ชิ้นงาน (2.2.2-1.1) แยกเป็นประเภทต่างๆดังนี้
- ประเภทสื่อวีดีทัศน์สิ่งแวดล้อม 10 ชิ้นงาน (2.2.2-1.2) - ประเภทสื่อPoster/Infographic 15 ชิ้นงาน (2.2.2-1.3) |
2568(GO-2.2.2 GL-2.2.2)2.2.2-1.1 สรุปการจัดป้ายการสื่อสารรณรงค์ประชาสัมพันธ์ 2568 (ม.ค. - มี.ค. 68).pdf 2568(GO-2.2.2 GL-2.2.2)2.2.2-1.2 ประเภทสื่อวีดีทัศน์ 2568 (ม.ค. – ก.พ. 2568 ).pdf 2568(GO-2.2.2 GL-2.2.2)2.2.2-1.3 สื่อประเภท Poster Infographic 2568 (ม.ค. - มี.ค.).pdf |
(GO-2.2.3) ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคน ตามหัวข้อ 2.2.1
|
สำนักวิทยบริการฯ สร้างความเข้าใจในด้านนโยบายสิ่งแวดล้อม โดยได้ประกาศนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เพื่อสร้างความเข้าใจสำหรับบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ จำนวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 เรื่องนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว ตามช่องทางต่างๆต่อไปนี้
1. ห้องประชุมภายในสำนักงานผู้อำนวยการ (2.2.3-1) 2. เว็บไซต์ Green office & Green library (2.2.3-2) 3. เพจ facebook : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2.2.3-3) 4. มุมพลังงานและสิ่งแวดล้อม (2.2.3-4) 5. ช่องทางสนทนากลุ่ม messenger: Lib pbru Staff , Green Lib, Arit Staff สำหรับการสื่อสารภายในหน่วยงานเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.2.3-5) |
|
(GO-2.2.4) มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข (1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ , QR Code , ในที่ประชุม , เว็บไซต์
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)
|
|
(GO-3.2) การใช้พลังงาน | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-3.2.1) มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจ (1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด - ปิด เป็นต้น
(3) การใช้พลังงานทดแทน
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
|
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มีนโยบาย การพัฒนา สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ให้เป็น Green University ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยมุ่งเน้นการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในเรื่องการประหยัดพลังงาน การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และการสร้างความตระหนักรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานให้เกิดกับบุคลากรในทุกฝ่าย/งาน ตลอดจนถึง ผู้ใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ สำนักวิทยบริการฯ
ทั้งนี้สำนักวิทยบริการฯได้ประกาศมาตรการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ประจำปี พ.ศ. 2566 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 มาตราการและแนวปฏิบัติด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมหัวข้อที่7ตามมาตราการด้านการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า(3.2.1-1) ดังนี้ 7.1. มาตรการการใช้ไฟฟ้า 1. ใช้แสงธรรมชาติ รณรงค์ให้เปิดผ้าม่าน 3.2.1-1.1 2. ปิดไฟทุกครั้งเมื่อช่วงพักกลางวัน เวลา 12.00 – 13.00 น. 3.2.1-1.2 3. รณรงค์ให้ถอดปลั๊กอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกครั้งที่เลิกใช้งาน 3.2.1-1.3 7.2 มาตรการการใช้เครื่องปรับอากาศ 1. เปิดและปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลา 30 นาที โดยปรับตั้งอุณหภูมิ 25-27 องศาเซลเซียส 3.2.1-1.4 2. ทำความสะอาดซิลเลอร์และช่องส่งลมเย็น ทุก 6 เดือน 3.2.1-1.5 7.3 มาตรการการใช้ลิฟต์ 1. รณรงค์ให้ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์ 3.2.1-1.6 2. ใช้ลิฟต์ร่วมกันครั้งละหลาย ๆ คน 3.2.1-1.7 3. ดูแลรักษาและซ่อมบำรุง เดือนละ 1 ครั้ง 3.2.1-1.8 ทั้งนี้สำนักวิทยบริการฯยังมีการใช้พลังงานทดแทน โดยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการติดตั้งไฟส่องสว่ำงที่ใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์บริเวณภายนอกของอาคารและจะทำงานในเวลากลางคืน 3.2.1-3 รวมถึงการเปลี่ยนอุปกรณืประหยัดไฟฟ้า โดยมีการดำเนินการเปลี่ยนหลอดไฟจากหลอดฟลูออเรสเซนต์เป็นหลอดไฟชนิดLEDเพื่อช่วยให้ประหยัดพลังงาน 3.2.1-4
|
2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(2566) 3.2.1-2 การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.1 การใช้แสงธรรมชาติรณรงค์ให้เปิดผ้าม่าน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.2 ปิดไฟทุกครั้งเมื่อช่วงพักกลางวัน เวลา 12.00 – 13.00 น..pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.5 ท าความสะอาดซิลเลอร์และช่องส่งลมเย็น ทุก 6 เดือน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.6 รณรงค์ให้ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.7 ใช้ลิฟต์ร่วมกันครั้งละหลาย ๆ คน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.1.1-1.8 ดูแลรักษาและซ่อมบำรุง เดือนละ 1 ครั้ง.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.2.1-1 มาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้ามีความเหมาะสมกับสำนักงาน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.2.1-1.3 รณรงค์ให้ถอดปลั๊กอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกครั้งที่เลิกใช้งาน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.2.1-1.4 รณรงค์ปรับตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ 25-27 องศาเซลเซียส.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.2.1-3 การใช้พลังงานทดแทน.pdf 2568(GO-3.2.1 GL-6.2.1)(GO-3.2.1 GL-6.2.1)3.2.1-4 การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า.pdf |
(GO-3.2.2) มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า แต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า ต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนว ทางแก้ไข
|
|
|
(GO-3.2.3) ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน การสำรวจพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้าตามมาตรการ
|
|
|
(GO-3.2.4) มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน (1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(2) การวางแผนการเดินทาง
(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
|
สำนักมีมาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสม ดังนี้ |
|
(GO-3.2.5) มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนว ทางแก้ไข
|
สำนักวิทยบริการฯ มีการเก็บข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงทุกเดือนและข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย ในปี พ.ศ. 2568 ตั้งแต่เดือน มกราคม – กันยายน พ.ศ. 2568 โดยมีการมอบหมายให้นายนายวิโรจน์ ว่องไวไพโรจน์ ตำแหน่งนักวิชาการโสตทัศนศึกษา ตามคำสั่งที่ ....... ลงวันที่ .................. (3.2.5-1.1) เป็นผู้บันทึกข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงทุกเดือน (3.2.5-1.2) ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย (3.2.5-2.1) และรวบรวมจัดทำเป็นสถิติแต่ละปีเพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์และปริมาณการน้ำมันเชื้อเพลิงของสำนักฯ
|
(GO-4.1) การจัดการของเสีย | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-4.1.1) มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม (1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่ เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ
(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
(6) มีการติดตามตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการ อย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการ จัดการอย่างเหมาะสม)
(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับ การอนุญาตอย่างถูกต้อง)
|
สำนักวิทยบริการฯ มีการ มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่ เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ ประจำปี พ.ศ. 2568 และมีการติดป้ายประเภทของขยะอย่างชัดเจน (4.1.1-1) และได้จัดหาถังขยะประเภททั่วไป ถังขยะประเภทรีไซเคิล ไว้ให้บริการตามจุดพื้นที่ต่างๆ ในอาคารสำนักวิทยบริการฯ ทั้งนี้ในบางพื้นที่ได้มีการจัดหาถังขยะประเภทอันตราย และขยะเปียกหรือขยะอินทรีย์ เพื่อให้พนักงานและนักศึกษาได้ทิ้งขยะตามถังที่แยกประเภทไว้ โดยมีผู้ปฏิบัติงานบริการทั่วไป (แม่บ้าน) ของอาคารสำนักวิทยบริการฯ รวบรวม คัดแยก ชั่งน้ำหนัก และนำส่งต่อไปยังจุดรับส่งขยะของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เพื่อพนักงานเทศบาลเมืองเพชรบุรีได้รับเอาขยะแต่ละประเภทไปดำเนินการกำจัดตามระบบต่อไป (4.1.1-2) ในส่วนของขยะรีไซเคิล ผู้ปฏิบัติงานบริการทั่วไปนำมาชั่ง บันทึก และแยกรวมไว้ที่จุดคัดแยกส่วนกลาง ส่งไปจำหน่าย เป็นรายได้ของสำนักวิทยบริการฯ นอกจากนี้ แก้วกาแฟ หลอดกาแฟนำมาจัดทำสิ่งประดิษฐ์ "โมบายแขวน " (4.1-3) ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการบันทึกปริมาณขยะทุกวัน โดยผู้ปฏิบัติงานบริการทั่วไป (4.1.4)
เมื่อเปรียบเทียบปริมาณขยะโดยภาพรวมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562-2568 พบว่า สำนักวิทยบริการฯ สามารถลดปริมาณขยะได้ตามเป้าหมายที่กำหนดร้อยละ 15 (4.1-5) |
|
(GO-4.1.2) การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง (1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละ ประเภทครบถ้วนทุกเดือน
(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่า เป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5
(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้ม ลดลง
|
สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการจัดเก็บคัดแยกขยะ และนำขยะบางประเภทกลับมาใช้ประโยชน์ และนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณ น้อยลง ดังนี้
1. นำเศษอาหารจากการรับประทานอาหารของเจ้าหน้าที่ มาทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ปลูกพืชผักสวนครัว ในพื้นที่ด้านหลังข้างอาคาร
2. นำขวดและฝากพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นแจกันใส่ต้นไม้ตามจุดต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม บรรยากาศให้ดูเป็นธรรมชาติ สวยงามและดูดซับสารพิษได้
3. การรณรงค์ให้บริการยืมถุงผ้าเพื่อใส่ทรัพยากรสารสนเทศแทนถุงพลาสติก (หน้า 5) (4.1.2-1.1) และพนักงานทำความสะอาดประจำตึก จะรวบรวมขยะจากทุกจุดภายใน สำนักวิทยบริการฯ มาทำการชั่งและบันทึกปริมาณทุกวัน ในเวลา 16.00 น. โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะไปตรวจเช็คการจดบันทึกปริมาณของพนักงาน และเมื่อสิ้นเดือนก็จะนำปริมาณขยะที่จดบันทึกมาบันทึกลงในแบบฟอร์ม (4.1.2-2.1)
สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบ ค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้คือ ปริมาณของเสียที่ลดลงร้อยละ 30 ตามประกาศสำนักวิทยบริการฯ เรื่องเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 (4.1.2-3.1) พบว่าปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 10.77 (4.1.2-4.1)
|
(GO-5.2) แสงในสำนักงาน | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-5.2.1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด (1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง ประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผล การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน
(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)
(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตาม มาตรฐานกฎหมายกำหนด
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
|
สำนักวิทยบริการฯ มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง โดยมีมาตราการควบคุมแสงภายในอาคาร ตามมาตราการและแนวปฏิบัติด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 6 มาตราการด้านการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางการยภาพ ข้อย่อยที่ 6.3 มาตรการด้านการควบคุมแสงภายในอาคาร โดยมีมาตราการในการวัดค่าแสงดังนี้
1. ใช้อุปกรณ์ส่องสว่างที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2. ตรวจวัดความเข้มข้นของแสงทุกปี
3. การตรวจวัดแสงเป็นไปตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
4.ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติ
5. ทำความสะอาดหลอดไฟปีละ 2 ครั้ง
ทั้งนี้สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง โดยมีพื้นที่อาคารที่ทำการวัดความเข้มของแสงสว่าง จำนวน 2 อาคาร ประกอบด้วย
1. อาคารบรรณราชนครินทร์ 6 ชั้น
2. อาคารหอสมุดเดิม 2 ชั้น ซึ่งประกอบด้วยจุดที่ทำการวัดด้วยวิธีการตรวจวัดแบบจุด (Spot Measurement ) ซึ่งมีการกำหนดจุดในการวัดต่าแสงรวมทั้งหมด 2 อาคาร จำนวน 45 จุด ซึ่งได้ดำเนินการตรวจวัดค่าแสงแล้วเสร็จไปเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 9.00 น. – 12.00 น. (5.2.1-1.1) ด้วยเครื่องมือ เครื่องวัดแสงสว่าง (Lux meter) ยี่ห้อ UNI-T รุ่น UT383 ซึ่งเป็นเครื่องมือใหม่ (5.2.1-2.1)
จากการตรวจวัดระดับความเข้มของแสงบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการฯ โดยนำผลจากการ ตรวจวัดมาเปรียบเทียบค่ามาตรฐานตามลักษณะงานที่กำหนดไว้ในประกาศกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง พ.ศ. 2560 (5.2.1-3.1) ผลการตรวจวัด พบว่า ระดับ ความเข้มของแสงสว่างแบบจุดทำงานและแบบจุดพื้นที่ จำนวน 45 จุด ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด จำนวน 39 จุด คิดเป็นร้อยละ 86.66 ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด จำนวน 6 จุด คิดเป็นร้อยละ 13.33 (5.2.1-3.2) สำนักวิทยบริการฯ จึงได้หาแนวทางการแก้ไขปัญหา แสงสว่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ดังนี้
1. ติดตั้งดวงไฟบริเวณที่ปฏิบัติงานเพิ่มเติมหรือเพิ่มเฉพาะจุดที่มีการทำงานเป็นพิเศษ 2. จัดบริเวณพื้นที่การทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยไม่นำสิ่งของต่าง ๆ วางกีดขวางทางเข้าของแสงสว่างหรือตั้งบังทางที่แสงสว่างส่องผ่านมายังบริเวณที่ปฏิบัติงาน 3. ตรวจสอบและบำรุงรักษาหลอดไฟเป็นประจำ รวมทั้งดำเนินการเปลี่ยนหลอดไฟ เมื่อครบอายุการใช้งาน หรือเมื่อเกิดการชำรุด 4. ควรทำความสะอาดหลอดไฟเป็นประจำอย่างน้อยทุก ๆ 3 เดือน |
2568(GO-5.2.1 GL-8.2.1)(GO-5.2.1 GL-8.2.1)5.2.1-1.1 การตรวจวัดความเข้มแสงเฉพาะจุดทำงานและพื้นที่ทำงาน (2).pdf 2568(GO-5.2.1 GL-8.2.1)(GO-5.2.1 GL-8.2.1)5.2.1-2.1 มาตรฐานเครื่องมือวัดแสง.pdf 2568(GO-5.2.1 GL-8.2.1)(GO-5.2.1 GL-8.2.1)5.2.1-3.1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.pdf |
(GO-5.3) เสียง | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-5.3.1) การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน (1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
|
สำนักวิทยบริการฯมีการควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน 5.3.1-1.1 มีกฏหมายสาธารณสุข 5.3.1-1.2 คู่มือแผนปฏิบัติการสภาพแวดล้อมเรื่องเสียง การกำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เียงที่ดังมาจากสำนักงาน ปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังมาจากสำนักงานต้องทำป้ายแจ้งเตือน 5.3.1-1.3 ภาพการงดใช้เสียง 5.3.1-1.5 ภาพประกอบให้แต่ละฝ่ายงานใช้เครื่องพิมพ์เอกสาร 5.3.1-1.7 ภาพประกอบกรณีการใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ให้ใช้หูฟังแทน
|
2568(GO-5.3.1 GL-8.3.1)2567(GO-5.3.1 GL-8.3.1)5.3.1-1.1 กฎหมายสาธารณสุข (1).pdf 2568(GO-5.3.1 GL-8.3.1)2567(GO-5.3.1 GL-8.3.1)5.3.1-1.2 คู่มือแผนปฏิบัติการสภาพแวดล้อมเรื่องเสียง (1).pdf 2568(GO-5.3.1 GL-8.3.1)2567(GO-5.3.1 GL-8.3.1)5.3.1-1.3 ภาพการงดใช้เสียง.pdf 2568(GO-5.3.1 GL-8.3.1)2567(GO-5.3.1 GL-8.3.1)5.3.1-1.5 ภาพประกอบให้แต่ละฝ่ายงานใช้เครื่องพิมพ์เอกสาร.pdf |
(GO-5.3.2) การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน (1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้
- มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
- มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและ ระวังการได้รับอันตราย
|
|
(GO-5.5) การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน | ||
---|---|---|
ตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
(GO-5.5.1) การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด (1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและ อพยพหนีไฟ
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิง ขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มี การฝึกซ้อมเท่านั้น)
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผน ที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่ กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถ รองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อม สื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทาง หนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
|
|
|
(GO-5.5.2) มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน ตรวจสอบแผนระงับเหตุฉุกเฉิน และสุ่มสัมภาษณ์พนักงานตามโครงสร้างหน้าที่รับผิดชอบกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน
|
สำนักวิทยบริการฯได้จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น (GO-5.5.2 GL-8.5.2)
|
2568(GO-5.5.2 GL-8.5.2)แผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 2568.pdf |
(GO-5.5.3) ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดังกล่าว (1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ ดับเพลิง
- ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูง จากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับ จากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้น จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติด ป้ายแสดง
- ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
- สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสาย ฉีด ( Hose and Hose Station) (ถ้ามี)
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและ ต้องพร้อมใช้งาน
- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่ มากกว่า 300 ตารางเมตรหรือ อาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)
- ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความ ร้อน (heat detector)
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และ หากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการ แจ้งซ่อมและแก้ไข
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและ สัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และ สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
|
สำนักวิทยบริการฯ มีอุปกรณ์สำหรับป้องกันเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัยได้แก่
1. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้งจำนวน 34 ถัง ติดตั้งภายในอาคารบรรณราชนครินทร์จำนวน 19 ถัง และอาคารหอสมุดเดิม จำนวน 15 ถัง (GO-5.5.3 GL-8.5.3-3.1) 2. สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินจำนวน 12 เครื่อง (GO-5.5.3 GL-8.5.3-3.2) 3. เครื่องตรวจจับควันจำนวน 41 เครื่อง (GO-5.5.3 GL-8.5.3-3.3) สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการตรวจเช็คอุปกรณ์เพื่อเตรียมความพร้อม ทุก 2 เดือน ลงในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจอุปกรณ์ด้านอัคคีภัย (GO-5.5.3 GL-8.5.3-3.4) |
2568(GO-5.5.3 GL-8.5.3)แบบบันทึกการตรวจอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย 68.pdf |